1 - 10 of 13
รู้จักการส่องกระจก 6 ด้าน เพื่อสร้างความสำเร็จในงานอย่างยั่งยืน
รู้จักการส่องกระจก 6 ด้าน เพื่อสร้างความสำเร็จในงานอย่างยั่งยืน
"คนเราทุกวันนี้ ดีแต่ส่องกระจกด้านหน้า แต่เพียงด้านเดียว ให้เอากระจกหกด้าน มาส่องเสียบ้าง แล้วจะเห็นเอง" สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แล้วเกี่ยวยังไงกับการทำงาน?? เพราะ ชีวิตการทำงานของเรา ก็จำเป็นต้องส่อง กระจก 6 ด้านเหมือนกันครับ เพื่อให้มุมมองที่รอบด้านและทำให้ชีวิตเราดีขึ้น ซึ่งกระจกทั้ง 6 ด้านก็คือ
ก้าวข้ามปัญหา ด้วยการขจัดความไม่รู้ทั้ง 4 ด้านนี้
ก้าวข้ามปัญหา ด้วยการขจัดความไม่รู้ทั้ง 4 ด้านนี้
อันที่จริง ผลกระทบของปัญหาต่างๆ ที่เราเผชิญอยู่นั้น ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจาก "ความเขลา" อย่างที่ หลายๆ คน คิดนะครับ แต่เกิดจาก "ความไม่รู้" หรือ ไม่มีข้อมูลในการจัดการกับ "สถานการณ์" ที่เกิดขึ้น เมื่อไม่สามารถจัดการได้ "สถานการณ์"นั้น จึงเป็น "ปัญหา" "ความไม่รู้" โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นจาก 4 ด้านนี้ครับ
หลักบริหารงานแบบหยิน-หยาง เพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง
หลักบริหารงานแบบหยิน-หยาง เพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง New New
แนวคิด หยิน-หยาง นี้เชื่อว่า พลังต่างๆ ในจักรวาลนั้นมี 2 ด้าน คือ หยิน และ หยาง ซึ่งเป็นพลังงานสองขั้วที่ตรงข้ามกัน ดังนั้น ในเครื่องหมายหยินหยางนั้น จึงมีสีตรงข้ามกัน คือ ดำ และ ขาว ดังนั้นในการรับมือความเปลี่ยนแปลงแบบแนวคิดเต๋า ก็มีสองด้านครับ นั่นคือ
อยากให้ feedback แล้ว ลูกน้องเปลี่ยน จะต้องทำอย่างไร?
อยากให้ feedback แล้ว ลูกน้องเปลี่ยน จะต้องทำอย่างไร?
feedback ก็คือ ข้อมูลย้อนกลับทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นหลังการกระทำเสมอ เพียงแต่ว่าถ้าเราอยากให้ feedback นั้น มีพลัง และนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้นั้น feedback ดังกล่าวจะต้องประกอบไปด้วย "เจตนาที่ดี" เป็นสารตั้งต้นครับ
4 สิ่งที่ช่วยให้คุณตั้งหลัก จากความล้มเหลวได้ (4 Pillars of resilience)
4 สิ่งที่ช่วยให้คุณตั้งหลัก จากความล้มเหลวได้ (4 Pillars of resilience)
เมื่อพูดถึง Resilience หรือการฟื้นตัวจากความล้มเหลว นั้น หลายคนอาจนึกแต่ด้านการทำงาน แต่แท้จริง พลังแห่งการล้มแล้วลุก ควรในวิถีชีวิตของเราตลอดเวลา เพื่อให้เราผ่านอุปสรรคในชีวิตได้ เช่น ความเสียใจจากความผิดหวัง หรือ ความเศร้าโศกจากการสูญเสียใดๆ ดังนั้น การพัฒนาความสามารถในการฟื้นตัวนี้ จึงไม่ต้องพึ่งแต่การอบรมในห้องเรียน แต่เราสามารถสร้างมันได้จากการพัฒนา 4 เสาหลัก ดังนี้ครับ
​5 ตัวชี้วัด ว่าองค์กรคุณเป็น Data-Driven Companyแล้วหรือยัง?
​5 ตัวชี้วัด ว่าองค์กรคุณเป็น Data-Driven Companyแล้วหรือยัง?
องค์กรคุณเป็น Data-Driven Companyแล้วหรือยัง? ข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจในปัจจุบัน หลายที่จึงนำเอาระบบการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ แล้วคาดหวังว่า เทคโนโลยี จะพาบริษัทให้แปลงร่างเป็น Data Driven company ทันที และการจะเปลี่ยนให้บริษัทเป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนด้วย data อย่างแท้จริงนั้น มี 5 ด้านที่สำคัญๆ ที่ต้องทำ นั่นก็คือ
สื่อสารแล้วไม่ได้ผลลัพธ์ เพราะความผิดพลาดเหล่านี้
สื่อสารแล้วไม่ได้ผลลัพธ์ เพราะความผิดพลาดเหล่านี้ New New
การสื่อสารเป็นปัญหาที่เจอบ่อยมากในการทำงาน เพราะตลอดเวลาทำงาน เราต้องสื่อสารกันเยอะมากทั้งการพูดและการเขียน ผ่านช่องทางต่างๆ แต่บ่อยครั้งที่ เมื่อเราต้องการพูดอย่าง แต่อีกฝ่ายเข้าใจไปอีกอย่าง สาเหตุพราะอุปสรรคในการสื่อสารมีมากมายหลายแบบ "โดยเฉพาะปัจจัยระหว่างผู้พูดและผู้ฟัง" อุปสรรคที่เกิดระหว่างการสื่อสารระหว่างกันนี้ มีอยู่ "อย่างน้อย" 3 ด้านที่สำคัญ ตือ
ทำไมหัวหน้า Productive  อาจไม่ใช่หัวหน้าที่ดีทุกคน
ทำไมหัวหน้า Productive อาจไม่ใช่หัวหน้าที่ดีทุกคน New New
มีคำกล่าวว่า เมื่อคุณแต่งตั้งพนักงานที่ productive หนึ่งคนมาเป็นหัวหน้าทีมแล้ว ถ้าเขาไม่เป็นผู้นำที่ดี คุณจะเสียพนักงานมือดีในการทำงานไปหนึ่งคน แถมคุณจะได้หัวหน้างานแย่ๆ มาเพิ่ม อีกหนึ่งคนด้วย และจากนั้นไม่นาน คุณก็อาจจะเสียทั้งพนักงานที่เหลือในทีม และหัวหน้าคนนั้นไปด้วย ในท้ายที่สุด ทำไมเป็นเช่นนั้นลองมาดูกัน
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
การพยามยามช่วยให้ใครสักคน เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้น ฟังแล้วเป็นเรื่องยาก​ ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้าที่อยากให้ลูกน้องปรับปรุง พัฒนาการทำงาน หรือแม้แต่คนใกล้ชิดที่เราหวังดีอยากให้เขาเปลี่ยนตัวเอง เพราะคนแต่ละคนต่างก็มีความนิสัยติดตัว มีความเคยชินต่างกัน แม้ว่าจะมีความหวังดีอยากให้เขาพัฒนา ก็อาจจะโดนหาว่าไปยุ่งวุ่นวายชีวิตเขาเปล่าๆ ดังนั้นการจะช่วยให้ใครสักคนพัฒนาตนเอง จึงต้องมีวิธีการที่เหมาะสมด้วย เคล็ดลับทั้งสี่ข้อที่ว่า ก็คือ
บริษัทซอมบี้
บริษัทซอมบี้
"บริษัทซอมบี้" (Zombie firm) เป็นฉายาของบริษัทไม่สามารถทำกำไร แต่ก็ยังอยู่รอดในธุรกิจได้ แม้ว่าจะอยู่ในแบบครึ่งผีครึ่งคน เป็น Living dead ไปเรื่อยๆ ก็ตาม งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของ IMF นิยาม "บริษัทซอมบี้" ไว้ว่า เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี แต่กำไรของบริษัทไม่พอที่จะจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของแบงก์ได้ต่อเนื่องกัน 3 ปี
1 - 10 of 13